วิธีเลือกน้ำมันปลา น้ำมันปลาที่ดีต้องดูอย่างไร

วิธีเลือกน้ำมันปลา

วิธีเลือกน้ำมันปลา น้ำมันปลาที่ดี ต้องดูอย่างไร

          น้ำมันปลาที่ดี ต้องดูอย่างไร วิธีเลือกน้ำมันปลา แหล่งสำคัญของกรดไขมัน โอเมก้า 3 ซึ่งเป็นกรดไขมันจำเป็นที่ร่างกายสังเคราะห์เองไม่ได้ และต้องได้รับจากอาหารในปริมาณที่เพียงพอ

กรดไขมัน โอเมก้า 3 ประกอบไปด้วย

น้ำมันปลา กิฟฟารีน

EPA

  • ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL) และไตรกลีเซอไรด์
  • เพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL)
  • ช่วยลดความหนืดและทำให้เลือดไหลเวียนได้ดี
  • ป้องกันหลอดเลือดตีบและอุดตัน จึงช่วยป้องกันสาเหตุหลักของการเกิดโรคหัวใจล้ม
  • เหลวได้
  • ช่วยลดอาการอักเสบที่เกิดจากโรคข้อเสื่อม และข้ออักเสบรูมาตอยด์
น้ำมันปลา กิฟฟารีน

DHA

  • มีส่วนช่วยในการบำรุงสมอง
  • ทำให้เซลล์สมองแข็งแรง
  • ช่วยให้สารอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงสมองได้สะดวกขึ้น
  • เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเซลล์สมอง

น้ำมันปลาที่ดีต้องดูอย่างไร

น้ำมันปลา กิฟฟารีน

ต้องมีสารสำคัญที่ดี

  • ต้องมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดโอเมก้า 3 ที่ประกอบไปด้วย DHA และ EPA ในสัดส่วนและปริมาณที่เหมาะสม
  • DHA : EPA = 1:2 หรือ 2:3
  • ใน 1,000 มก. ควรมี DHA + EPA > 200 มก.

สุดยอดคุณประโยชน์ของน้ำมันปลากับการดูแลสุขภาพ

น้ำมันปลากับการบำรุงสมอง

  • ช่วยให้คิดไวขึ้น
  • ความจำดี
  • สมองสดชื่น ไม่อ่อนล้า
  • ป้องกันโรคสมองเสื่อม หรืออัลไซเมอร์
น้ำมันปลา กิฟฟารีน

น้ำมันปลากับการดูแลหัวใจ

  • ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี (LDL) และไตรกลีเซอไรด์ และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL)
  • ช่วยลดความข้นหนืดของเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น
  • ป้องกันหลอดเลือดอุดตันจากการจับตัวของเกล็ดเลือด
  • ป้องกันการเกิดตะกอน (Plaque) สาเหตุของหลอดเลือดตีบและอุดตัน

 

น้ำมันปลากับโรคข้อเสื่อม และข้ออักเสบรูมาตอยด์

  • ช่วยลดการสร้างสารที่ทำให้เกิดการอักเสบ จึงช่วยลดการอักเสบและบวมของข้อได้

ประโยชน์ของน้ำมันปลา ในแต่ละช่วงวัย

น้ำมันปลา
ทารกและสตรีมีครรภ์
  • เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของสมอง
วัยเรียน
  • เสริมสร้างสมาธิ และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง
วัยทำงาน
  • เสริมสร้างสมาธิ และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง และลดความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ เป็นต้น
ผู้สูงอายุ
  • เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม หรือโรคอัลไซเมอร์ และบรรเทาอาการของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคข้อเสื่อม โรคเบาหวาน เป็นต้น

คำแนะนำและข้อควรรู้เกี่ยวกับน้ำมันปลา

  • หากคุณไม่ชอบรับประทานปลาหรือไม่สามารถรับประทานปลาได้อย่างสม่ำเสมอ สามารถเลือกรับประทานอาหารเสริมประเภทน้ำมันปลาหรือ Fish Oil แทนได้
  • ในกรณีต้องการรับประทานน้ำมันปลาในรูปแบบผลิตภัณฑ์เสริมอาหารควรรับประทานในปริมาณที่แพทย์หรือเภสัชกรแนะนำและไม่ควรรับประทานน้ำมันปลาในปริมาณมากเกินไป เพราะทำให้มีเลือดออกและเลือดไม่แข็งตัว
  • ควรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารน้ำมันปลาจากแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ ศึกษาวิธีการเลือกซื้อและการรับประทานที่เหมาะสม แจ้งแพทย์หรือเภสัชกรให้ทราบเกี่ยวกับโรคประจำตัว ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และสมุนไพรที่กำลังใช้อยู่
  • ผู้ที่มีโรคประจำตัวและต้องการใช้น้ำมันปลาเป็นการรักษาเสริม อย่างผู้ป่วยโรคหัวใจหรือผู้ที่ต้องการควบคุมระดับไขมันเลือด ควรปรึกษาแพทย์ถึงปริมาณการบริโภคที่เหมาะสม
  • แม้จะรับประทานน้ำมันปลาแล้วก็ควรจะรับประทานอาหารอื่น ๆ ให้ถูกหลักโภชนาการด้วย

ที่มาจาก : medthai.com

สามารถนำรหัสสมาชิก 48004219 ไปซื้อได้ที่ศูนย์ธุรกิจกิฟฟารีนทั่วประเทศ
สั่งซื้อออนไลน์ หรือติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
Fanpage : WeLoveGiffarine
Email : mai-mee-jai@hotmail.com
โทร. 090-0491594
Line : @welove.giffarine

> สมัครสมาชิก คลิ๊ก! <